MIS

CHAINAT


ตัวชี้วัดที่ 36 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต

ตารางข้อมูลเป้าหมาย-ผลงาน
จังหวัด ประชากรอายุ
15 ปีขึ้นไป
ในปีที่ใช้คำนวณ
ร้อยละความชุก
ของโรคในคนไทย
จำนวนผู้ป่วย
คาดประมาณจาก
ความชุกที่ได้จาก
การสำรวจ (คน)
(B)
จำนวนผู้ป่วยสะสม
ทั้งหมดที่ได้รับ
การวินิจฉัยและรักษา
ในจังหวัด (คนต่อจังหวัด)
(A)
อัตราการเข้าถึง
บริการของผู้ป่วย
ที่ได้รับการวินิจัย
และรักษาในจังหวัด
เทียบกับคาดประมาณ
ผู้ป่วยในพื้นที่
จำนวนผู้ป่วยสะสม
ทั้งหมดที่มีทะเบียนบ้าน
ในจังหวัด / AHB
(คน)
อัตราการเข้าถึง
บริการของผู้ป่วย
(มีทะเบียนบ้าน
ในจังหวัด / AHB)
เทียบกับคาดประมาณ
ผู้ป่วยในพื้นที่
ข้อมูลที่ไม่พบที่อยู่
ตามทะเบียนบ้าน
ชัยนาท 275,662 2.40 6,616 7,583 114.62 8,437 127.52 6
รวม 275,662 2.40 6,616 7,583 114.62 8,437 127.52 6
หมายเหตุ

A หมายถึง จำนวนผู้ป่วยสะสมทั้งหมดที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาในจังหวัด (คนต่อจังหวัด)

-ประมวลผลจากข้อมูลทะเบียนกลาง HDC BigDATA ระดับกระทรวง และฐานข้อมูล HDC ของสสจ.
-- ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าข้าถึงบริการ หมายถึง ผู้ป่วยจากแฟ้ม Diagnosis_opd ที่มีรหัสการวินิจฉัยเป็น F32.x, F33.x, F34.1, F38.x และ F39.x ทั้งรายเก่าและรายใหม่ ที่มารับบริการ ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2552 สะสมมาจนถึงในปีงบประมาณปัจจุบัน
-- เป้าหมายมีที่มาจาก จำนวนประชากรและจำนวนคาดประมาณจากความชุก ของกรมสุขภาพจิต
-- ทั้งนี้หากเป็นผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยและรักษาที่หน่วยบริการต่างจังหวัดกับที่อยู่ของผู้ป่วยตามภูมิลำเนา ระบบก็จะนับผู้ป่วยตามภูมิลำเนาให้ด้วย
--การดูข้อมูลผ่านระบบ DATA Exchange สำหรับรายงานนี้ จำเป็นต้องใช้บัตรประจำตัวประชาชนเพื่อยืนยันตัวบุคคลทุกครั้ง(Smart Card Login)
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด
5 พฤษภาคม 2567 เวลา 17:47 น.